จดทะเบียนบริษัทเขตบางกอกน้อย

เขตบางกอกน้อย เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร จดทะเบียนบริษัทเขตบางกอกน้อย,รับจดทะเบียนบริษัทบางกอกน้อย,จดห้างหุ้นส่วนจำกัดบางกอกน้อย,รับจดห้างหุ้นส่วนจำกัด บางกอกน้อย,ทะเบียนบริษัทย่านบางกอกน้อย,ทะเบียนธุรกิจบางกอกน้อย,รับตรวจบัญชีบางกอกน้อยจดทะเบียนบริษัทบางขุนนนท,จดทะเบียนบริษัทอรุณอมรินทร, จดทะเบียนบริษัทบางขุนศรี, จดทะเบียนบริษัทศิริราช

รับตัดต้นไม้,รับเคลียร์พื้นที่,ปรับพื้นที่,รับตัดหญ้า,รับปูหญ้าจัดสวน,รับตัดต้นไทร,รับตัดต้นโพธิ์,บริการตัดต้นไม้และเก็บขนกิ่งไม้

อยู่ในกลุ่มเขตกรุงธนเหนือ ซึ่งถือเป็นเขตอนุรักษ์เมืองเก่า แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมทางฝั่งธนบุรี โดยมีคำขวัญประจำเขตว่า "สมเด็จโตวัดระฆัง วังหลังตั้งอยู่ อู่เรือพระราชพิธี สถานีรถไฟ คลองใหญ่มีชื่อ เลื่องลือเครื่องลงหิน นามระบิลช่างหล่อ งามลออวัดวา"

 

จดทะเบียนบริษัทเขตบางกอกน้อย,รับจดทะเบียนบริษัทบางกอกน้อย,จดห้างหุ้นส่วนจำกัดบางกอกน้อย,รับจดห้างหุ้นส่วนจำกัด บางกอกน้อย,ทะเบียนบริษัทย่านบางกอกน้อย,ทะเบียนธุรกิจบางกอกน้อย,รับตรวจบัญชีบางกอกน้อยจดทะเบียนบริษัทบางขุนนนท,จดทะเบียนบริษัทอรุณอมรินทร,จดทะเบียนบริษัทบางขุนศรี,จดทะเบียนบริษัทศิริราช

tel095-793-7000

line-cbg1

จดทะเบียนนิติบุคคลใหม่ แค่ 2 คน ตั้งบริษัทได้ เริ่มใช้ 7 ก.พ. 66

พาณิชย์แง้มข่าวดี พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ 23) พ.ศ. 2565 ได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2565 มีผลบังคับใช้วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2566 สาระสำคัญ ลดจำนวนผู้เริ่มก่อการจัดตั้งบริษัทจำกัดจาก 3 คน เหลือแค่ 2 คน
วันที่ 6 ธันวาคม 2565 นายสินิตย์ เลิศไกร รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ เปิดเผยว่า กรมพัฒนาธุรกิจการค้า ในฐานะหน่วยงานที่กำกับดูแลผู้ประกอบธุรกิจในการจดทะเบียนนิติบุคคล ได้เสนอพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ 23) พ.ศ. 2565 และพระราชบัญญัติกำหนดความผิดเกี่ยวกับห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน ห้างหุ้นส่วนจำกัด บริษัทจำกัด สมาคมและมูลนิธิ (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2565

ทั้งนี้ เพื่อปรับปรุงประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 3 ลักษณะ 22 หุ้นส่วนและบริษัทให้มีความทันสมัย รองรับการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการของเทคโนโลยี ส่งเสริมให้จัดตั้งบริษัทจำกัดได้ง่ายขึ้น เพิ่มความคล่องตัวในการประกอบธุรกิจ อีกทั้งช่วยให้บริษัทจำกัดสามารถควบรวมกิจการได้มากกว่าหนึ่งลักษณะ

ซึ่งจะเป็นการเสริมสร้างศักยภาพในการแข่งขันของประเทศและสร้างภาพลักษณ์อันดีในการประกอบธุรกิจ รองรับระบบเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัล ประการสำคัญที่สุดคือ ช่วยลดค่าใช้จ่ายและต้นทุนการดำเนินงานให้ผู้ประกอบธุรกิจตามนโยบายของรัฐบาลอีกทางหนึ่ง

การแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ในครั้งนี้ มีประเด็นที่เปลี่ยนแปลงหลายประการ ดังนี้ 1) การยื่นขอจดทะเบียนห้างหุ้นส่วนหรือบริษัทสามารถยื่น ณ สำนักงานทะเบียนหุ้นส่วนบริษัทที่สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ หรือตามที่รัฐมนตรีประกาศกำหนด จากเดิมสำนักงานใหญ่อยู่ในจังหวัดใดต้องจดทะเบียน ณ สำนักงานพาณิชย์จังหวัดนั้นเท่านั้น
2) รัฐมนตรีมีอำนาจกำหนด ลด หรือยกเว้นค่าธรรมเนียมการจดทะเบียน การขอตรวจเอกสาร การขอสำเนาเอกสารพร้อมคำรับรอง และค่าธรรมเนียมอื่นที่เกี่ยวกับห้างหุ้นส่วนและบริษัท หรือกำหนดค่าธรรมเนียมให้แตกต่างกันตามรูปแบบการทำธุรกรรมก็ได้ เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนใช้บริการผ่านระบบสารสนเทศมากขึ้น
3) บุคคลตั้งแต่ 2 ขึ้นไปจะเริ่มก่อการและตั้งเป็นบริษัทจำกัดก็ได้ จากเดิมต้อง 3 คนขึ้นไป 4) หนังสือบริคณห์สนธิที่จดทะเบียนไว้ หากไม่ดำเนินการจดทะเบียนบริษัทจำกัดภายใน 3 ปีสิ้นผลทันที จากเดิมที่ไม่มีอายุของการสิ้นผล ทำให้บุคคลอื่นไม่สามารถใช้ชื่อบริษัทที่ปรากฏในหนังสือบริคณห์สนธิที่จดทะเบียนไว้ได้
5) บริษัทใดมีตราประทับต้องประทับตราในใบหุ้นทุกใบ 6) ให้ธุรกิจนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้กับการประชุมกรรมการได้เพิ่มขึ้นอีกวิธีหนึ่ง นอกจากต้องมาประชุม ณ สถานที่นัดประชุมเท่านั้น 7) ยกเลิกการนำหนังสือเชิญประชุมไปลงประกาศในหนังสือพิมพ์ ยกเว้นในกรณีบริษัทจำกัดมีหุ้นชนิดออกให้แก่ผู้ถือที่ยังต้องโฆษณาในหนังสือพิมพ์ หรือในสื่ออิเล็กทรอนิกส์อยู่

ประมูลงาน ยื่นซองเสนอราคา เสนองานบริษัท...ต้องรีบจดทะเบียนนิติบุคคล รับทำงาน..........แบบนี้จะจดเป็นอะไรดี

โปรโมชั่น สำหรับลูกค้าจดทะเบียนใหม่

พิเศษ !!! สำหรับลูกค้าจดทะเบียนใหม่

ส่วนลดพิเศษ!! จัดทำเว็บไซต์จาก
ปกติ 12,000 บาท เหลือเพียง 3,500 บาท
ฟรี !!! ระบบอีเมล์ภายใต้ชื่อโดเมนเนม

computers

โปรโมชั่น ลูกค้าจดทะเบียนใหม่และทำบัญชี

พิเศษ !!!  ลูกค้าจดทะเบียนใหม่และทำบัญชี

  • ฟรี เว็บไซต์ สำหรับบริษัทพร้อมแนะนำการทำตลาดออนไลน์
  • ฟรี ออกแบบโลโก้บรษัท
  • ฟรี รูปแบบใบส่งสินค้า ใบแจ้งหนี้ ใบกำกับภาษี ใบเสร็จรับเงินและเอกสารสำคัญอื่นๆ
  • ฟรี ขึ้นทะเบียน ระบบ E-FILING เพื่อใช้นำส่งงบการเงินกับกระทรวงพาณิชย์
  • ฟรี จดทะเบียน ภ.อ.01 เพื่อใช้ยื่นภาษีผ่าระบบออนไลน์
  • ฟรี จัดเตรียมเอกสารขึ้นทะเบียน E-GP (ระบบจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ)
  • ฟรี ที่ปรึกษาด้านการตลาดและบริหารธุรกิจ

ที่ตั้งและอาณาเขต
ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกค่อนไปทางเหนือของฝั่งธนบุรี มีอาณาเขตติดต่อกับเขตต่าง ๆ เรียงตามเข็มนาฬิกา ดังนี้

ทิศเหนือ ติดต่อกับเขตบางพลัด มีถนนบรมราชชนนีและถนนสมเด็จพระปิ่นเกล้าเป็นเส้นแบ่งเขต
ทิศตะวันออก ติดต่อกับเขตพระนคร มีแนวกึ่งกลางแม่น้ำเจ้าพระยาเป็นเส้นแบ่งเขต
ทิศใต้ ติดต่อกับเขตบางกอกใหญ่ มีคลองมอญเป็นเส้นแบ่งเขต
ทิศตะวันตก ติดต่อกับเขตตลิ่งชัน มีคลองชักพระและคลองบางกอกน้อยเป็นเส้นแบ่งเขต

ประวัติศาสตร์
เขตบางกอกน้อยเดิมมีชื่อเรียกว่า อำเภออมรินทร์ เป็นอำเภอที่ 21 ใน 25 อำเภอชั้นในของพระนครตามประกาศกระทรวงนครบาลในปี พ.ศ. 2458

จากนั้นในปี พ.ศ. 2459 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้เปลี่ยนชื่ออำเภออมรินทร์เป็น อำเภอบางกอกน้อย (พร้อมกับเปลี่ยนชื่ออำเภอหงสารามเป็นอำเภอบางกอกใหญ่ เปลี่ยนชื่ออำเภอราชคฤห์เป็นอำเภอบางยี่เรือ และเปลี่ยนชื่ออำเภอบุปผารามเป็นอำเภอคลองสาน) เนื่องจากชื่อเดิมยังไม่เหมาะสมกับตำบลที่ตั้งอันเป็นหลักฐานโบราณ ในขณะนั้นอำเภอบางกอกน้อยมีเขตปกครอง 8 ตำบล คือ ตำบลบางอ้อ ตำบลบางพลัด ตำบลบางบำหรุ ตำบลบางยี่ขัน ตำบลบางขุนนนท์ ตำบลบางขุนศรี ตำบลศิริราช และตำบลบ้านช่างหล่อ

ต่อมาเมื่อ พ.ศ. 2515 ได้มีประกาศคณะปฏิวัติ ยกเลิกหน่วยการปกครองจังหวัด เทศบาล สุขาภิบาล ในเขตจังหวัดพระนครและจังหวัดธนบุรีเป็นหน่วยการปกครองเดียว คือ "กรุงเทพมหานคร" ซึ่งได้เปลี่ยนคำว่าอำเภอเป็น "เขต" และตำบลเป็น "แขวง" ดังนั้น อำเภอบางกอกน้อยจึงได้รับการเปลี่ยนแปลงฐานะเป็น เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร

ในปี พ.ศ. 2532 กระทรวงมหาดไทยได้ประกาศเปลี่ยนแปลงพื้นที่เขตบางกอกน้อย โดยแบ่งพื้นที่แขวงบางพลัด แขวงบางอ้อ แขวงบางยี่ขัน และแขวงบางบำหรุ ไปจัดตั้งเป็นเขตบางพลัด เพื่อให้หน่วยงานราชการดูแลปกครองพื้นที่ได้สะดวกขึ้น

และได้มีประกาศกระทรวงมหาดไทยอีกครั้งในปี พ.ศ. 2534 ตัดพื้นที่เขตบางพลัดเฉพาะฝั่งใต้ถนนบรมราชชนนีและถนนสมเด็จพระปิ่นเกล้า กลับมาเป็นพื้นที่ของเขตบางกอกน้อย และได้รับการจัดตั้งเป็นแขวงอรุณอมรินทร์

ประมูลงาน ยื่นซองเสนอราคา เสนองานบริษัท...ต้องรีบจดทะเบียนนิติบุคคล

รับทำงาน..............แบบนี้จะจดเป็นอะไรดี

ห้างหุ้นส่วนจำกัด บริษัทจำกัด ร้านค้าจดทะเบียนบริษัทที่ไหน? จดบริษัทจะต้องใช้เอกสารอะไรบ้าง? จดบริษัทต้องใช้ผู้ก่อตั้งกี่คน? จดบริษัทต้องมีทุนจดทะเบียนเท่าไหร่? ภาษีมูลค่าเพิ่มคืออะไร บริษัทต้องเสียภาษีอะไรบ้าง? บริษัทจดคนเดียวได้ไหม? บริษัทสามารถใส่วัตถุประสงค์ได้กี่ข้อ? จะรับงานราชการต้องจดทะเบียนแบบไหน? บริษัทจะต้องขึ้นประกันสังคมหรือไม่? ต้องมีลูกจ้างกี่คนถึงจะขึ้นประกันสังคม? จะเริ่มทำบัญชียังไง? ลูกค้าให้จดเป็นนิติบุคคล จะจดแบบไหนดี? มีชาวต่างชาติถือหุ้นด้วยจะจดบริษัทได้ไหม? การตั้งชื่อบริษัทควรจะตั้งอย่างไร? ถ้าเปิดบริษัทแต่ยังไม่มีรายได้ต้องเสียค่าทำบัญชีไหม ต้องปิดงบการเงินหรือไม่? ถ้ามีชื่อในบริษัทอื่นแล้ว จะตั้งบริษัทใหม่ได้ไหม? ทำบิล ทำใบกำกับภาษี ไม่เป็น จะทำยังไง? กรรมการบริษัท คืออะไร มีหน้าที่อย่างไร? ผู้ถือหุ้น คืออะไร มีหน้าที่อย่างไร ? จะเปิดบัญชีกับธนาคาร ในนามบริษัทต้องทำอย่างไร? ที่ตั้งบริษัท ใช้บ้านที่ต่างจังหวัดได้หรือไม่?
950x200_free-consultation

ความคิดริเริ่มประกอบธุรกิจส่วนตัวเพื่อเตรียมจดทะเบียนบริษัท

สำหรับใครหลายๆคนที่กำลัง มีความคิดที่จะประกอบธุรกิจส่วนตัว ด้วยเนื่องอาจมีเหตุผล เช่น มีเพื่อนเป็นจัดซื้อมีคนรู้จักที่จะคอยหยิบยื่นงาน ออกมาให้ ก็ถือว่าเป็นสิ่งที่ดีโดยที่เราไม่ได้นับการเริ่มต้นทำธุรกิจ จาก 0 อาจจะเริ่มนับ ที่ 2,3,4,5 เลย แต่อย่าลืมว่าเราเองก็ต้องรู้จักการหาลูกค้าได้ด้วยตัวเอง เพราะสักวัน เราอาจไม่ได้รับการสนับสนุนจากเพื่อนหรือคนรู้จักแต่เราจะต้องยืนได้ด้วยความสามารถของเรานะครับ การที่จะมีบริษัท การจดทะเบียนบริษัท นั้นไม่ใช้เรื่องยาก...อ่านต่อ

รับจดทะเบียนบริษัท

240x150_reservation_name_dbdcbg1สำหรับบริการจดทะเบียนบริษัท เป็นอะไรที่มีความซับซ้อนอย่างยิ่ง ทั้งในเรื่องของระยะเวลาและสถานที่ บางท่านอาจจะไม่สะดวกทั้งเวลาและสถานที่ทำให้ธุรกิจของท่านอาจเสียโอกาศทางธุรกิจก็เป็นได้ ดังนั้นเราจึงเล็งเห็นความสำคัญในส่วนนี้ ทางบริษัทจึงมีความยินดีที่จะเสนอ บริการ ต่างๆ เข้ามาเพื่อแบ่งเบาภาระ ขั้นตอนการทำงาน ช่วยประหยัดเวลาอันมีค่า อีกทั้งเพื่อความถูกต้อง ตรงเวลา ตามที่กฎหมายกำหนด โดยมีบริการ ตั้งแต่เริ่มก่อตั้งตลอดจนลูกค้าสามารถดำเนินธุรกิจได้อย่างมั่นคงตลอดไป

tel095-793-7000

line-cbg1

จดทะเบียนบริษัทเขตบางบอน | จดทะเบียนบริษัทเขตทุ่งครุ | จดทะเบียนบริษัทเขตทวีวัฒนา | จดทะเบียนบริษัทเขตบางนา | จดทะเบียนบริษัทเขตคลองสามวา | จดทะเบียนบริษัทเขตวังทองหลาง | จดทะเบียนบริษัทเขตสะพานสูง | จดทะเบียนบริษัทเขตคันนายาว | จดทะเบียนบริษัทเขตสายไหม | จดทะเบียนบริษัทเขตหลักสี่ | จดทะเบียนบริษัทเขตบางแค | จดทะเบียนบริษัทเขตวัฒนา | จดทะเบียนบริษัทเขตลาดพร้าว | จดทะเบียนบริษัทเขตราชเทวี | จดทะเบียนบริษัทเขตดอนเมือง | จดทะเบียนบริษัทเขตจอมทอง | จดทะเบียนบริษัทเขตสวนหลวง | จดทะเบียนบริษัทเขตคลองเตย | จดทะเบียนบริษัทเขตประเวศ | จดทะเบียนบริษัทเขตบางคอแหลม | จดทะเบียนบริษัทเขตจตุจักร | จดทะเบียนบริษัทเขตบางซื่อ | จดทะเบียนบริษัทเขตสาทร | จดทะเบียนบริษัทเขตบึงกุ่ม | จดทะเบียนบริษัทเขตดินแดง | จดทะเบียนบริษัทเขตบางพลัด | จดทะเบียนบริษัทเขตราษฎร์บูรณะ | จดทะเบียนบริษัทเขตหนองแขม | จดทะเบียนบริษัทเขตภาษีเจริญ | จดทะเบียนบริษัทเขตบางขุนเทียน | จดทะเบียนบริษัทเขตบางกอกน้อย | จดทะเบียนบริษัทเขตตลิ่งชัน | จดทะเบียนบริษัทเขตคลองสาน | จดทะเบียนบริษัทเขตห้วยขวาง | จดทะเบียนบริษัทเขตบางกอกใหญ่ | จดทะเบียนบริษัทเขตธนบุรี | จดทะเบียนบริษัทเขตพญาไท | จดทะเบียนบริษัทเขตสัมพันธวงศ์ | จดทะเบียนบริษัทเขตยานนาวา | จดทะเบียนบริษัทเขตลาดกระบัง | จดทะเบียนบริษัทมีนบุรี | จดทะเบียนบริษัทเขตพระโขนง | จดทะเบียนบริษัทเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย | จดทะเบียนบริษัทเขตปทุมวัน | จดทะเบียนบริษัทเขตบางกะปิ | จดทะเบียนบริษัทเขตบางเขน | จดทะเบียนบริษัทเขตบางรัก | จดทะเบียนบริษัทเขตหนองจอก | จดทะเบียนบริษัทเขตดุสิต | จดทะเบียนบริษัทเขตพระนคร